วันอาทิตย์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สมดุลแสงขาว(White Balance)

สมดุลแสงขาว(White Balance)

สมดุลแสงขาว จะช่วยให้บริเวณที่เป็นสีขาวของภาพยังคงความขาวอยู่เสมอ
โดยปกติการตั้งค่าอัตโนมัติ จะทำให้ได้สมดุลแสงขาวที่ถูกต้อง หากไม่สามารถสมดุลสีธรรมชาติได้
ก็สามารถเลือกตั้งค่าสมดุลสีขาวจากแหล่งที่ให้แสงที่แตกต่างกันออกไป
โดยกดปุ่ม WB เพื่อเลือกสมดุลแสงขาว โดยทั่วไปสามารถเลือกใช้คำสั่งปรับแก้สมดุลแสงขาวได้ ดังนี้

Auto White Balance การปรับแบบอัตโนมัติ
Daylight                   สภาพแสงกลางวัน ภายใต้แสงแดด
Cloudy                    สภาพกลางวันเมฆมาก
Shade                     สภาพกลางวันใต้ร่มเงา
Tungsten                 สภาพแสงหลอดไฟทังสเตน
Fluorescent             สภาพแสงหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์
Flash electronic       สภาพแสงน้อง ต้องการแฟรชเพิ่ม
Costom                  เลือกปรับด้วยตนเอง

ตัวอย่างภาพ


ภาพถ่ายภายใต้แสงหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์  ใช้คำสั่ง Auto White Balance


ภาพถ่ายภายใต้แสงหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์  แก้ไขภาพโดยใช้คำสั่ง Fluorescent


ภาพถ่ายภายใต้แสงหลอดไฟทังสเตน  ใช้คำสั่ง Auto White Balance


ภาพถ่ายภายใต้แสงหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์  แก้ไขภาพโดยใช้คำสั่ง Tungsten

          การเลือกปรับค่าไวท์บาลานซ์เอง ก็เพื่อเก็บสีสันให้ตรงกับความเป็นจริง หรือให้แน่ใจว่าสีที่ต้องชดเชยนั้นออกมาถูกต้อง เพราะบางครั้งการตั้งไวท์บาลานซ์ออโต้ก็ไม่ได้ทำให้ภาพถ่ายออกมาถูกต้อง 


อ้างอิง
อำนวยพร บุญจำรัส.  TIPS OF PHOTOGRAPHY สร้างสรรค์ภาพถ่ายอย่างมืออาชีพ.  กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น,          
                2555.   

วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

assignment 19/06/2013

assignment 19/06/2013

1.


ภาพที่1.1



ภาพที่1.2


ภาพที่ความยาวโฟกัสขนาดของรูรับแสงระยะห่างจากวัตถุถึงเลนส์ลักษณะภาพวันที่บันทึกภาพเวลาที่บันทึกภาพ
2.118 mm6.36 cm.พื้นหลังเบลอมากกว่า24/06/1314.02
2.218 mm116 cm.พื้นหลังมีความคมชัดกว่า24/06/1314.02


2.


ภาพที่2.1





ภาพที่ 2.2



ภาพที่ ความยาวโฟกัส ขนาดของรูรับแสง ระยะห่างจากวัตถุถึงเลนส์ ลักษณะภาพ วันที่บันทึกภาพ เวลาที่บันทึกภาพ
2.1 55 mm 8 7 cm. พื้นหลังเบลอมากขึ้น 24/06/13 13.50 
2.2 18 mm 8 7 cm. พื้นหลังมีความคมชัดกว่า 24/06/13 13.49 


3.

ภาพที่ 3.1


ภาพที่ 3.2

ภาพที่ความยาวโฟกัสขนาดของรูรับแสงระยะห่างจากวัตถุถึงเลนส์ลักษณะภาพวันที่บันทึกภาพเวลาที่บันทึกภาพ
3.135 mm7.179 cm.ภาพโดยรวมมีความชัดใกล้เคียงกัน24/06/1313.07 
3.235 mm7.119 cm.พื้นหลังของภาพเบลอมากขึ้น24/06/1313.08 

                           ภาพชัดตื้นเป็นภาพที่มีพื้นที่จุดโฟกัสครอบคลุมไม่มาก ส่วนภาพชัดตื้นเป็นภาพที่มีจุดโฟกัสควบคุมอยู่กว้างกว่า ภาพชัดตื้นและภาพชัดลึกเกิดได้จาก ขนาดของรูรับแสง ดังภาพที่1.1และภาพที่1.2 ขนาดของรูรับแสงที่กว้างก็ได้จะภาพชัดตื้น ขนาดของรูรับแสงยิ่งกว้างเท่าใดระยะความชัดตื้นก็จะเพิ่มขึ้น  ความยาวโฟกัส ดังภาพที่ 2.1และ2.2 ยิ่งขนาดความยาวโฟกัสมากเท่าใด ยิ่งส่งผลต่อระยะความชัดตื้น และ  ระยะห่างจากเลนส์ถึงวัตถุ ดังภาะที่3.1และ3.2 ยิ่งถ่ายภาพด้วยระยะใกล้วัตถุเท่าใดความชัดตื้นของภาพก็จะยิ่งมากขึ้น